มนุษยวิทยา
ค้นพบซากฟอสซิลฟันและขากรรไกรของโฮมินินสายพันธุ์ใหม่ที่อาจเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์
พบซากฟอสซิลฟันและขากรรไกรของโฮมินิน(สายพันธุ์ที่ใกล้เคียงกับมนุษย์มากกว่าลิง)สายพันธุ์ใหม่ที่อาจเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์หรือเป็นญาติของมนุษย์ยุคโบราณในภาคเหนือของประเทศเอธิโอเปีย โดยพบฟันและขากรรไกที่เป็นของสิ่งชีวิตอย่างน้อย 3 ตัว แต่ไม่พบชิ้นส่วนอื่นๆ ซึ่งนักวิจัยกล่าวว่ามันอยู่ในช่วงเวลาเดียวกับ “ลูซี่” หรือออสตราโลพิเธคัส อะฟาเรนซิส (Australopithecus afarensis) การค้นพบนี้ตีพิมพ์ในวารสาร Nature
คลิ๊กเพื่อดูภาพฟอสซิลฟันและขากรรไกร ที่นี่ 1 2 3
สายพันธุ์ใหม่นี้ได้รับการตั้งชื่อว่า Australopithecus deyiremeda โดยชื่อสายพันธุ์ deyiremeda มาจากภาษา Afar ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นในเอธิโอเปีย มีความหมายว่า “ใกล้ชิด” และ “ญาติ” Australopithecus deyiremeda มีชีวิตอยู่ช่วง 3.5-3.3 ล้านปีที่แล้ว โดยพบ Read the rest of this entry »
ความฉลาดของมนุษย์อาจมาพร้อมกับโรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer) หรือโรคความจำเสื่อมอาจจะวิวัฒนามาพร้อมกับความฉลาดของมนุษย์ ทีมนักวิจัยรายงานการวิจัยใน BioRxiv

การศึกษานี้ค้นหาหลักฐานว่า 50,000 – 200,000 ปีที่แล้ว การคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) ได้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน Read the rest of this entry »