วิทยาศาสตร์

EGS-zs8-1 ดาราจักรที่ไกลที่สุดเท่าที่ค้นพบ(พ.ค. 2558) ระยะทาง 13,040 ล้านปีแสง

Posted on Updated on

Galaxy EGS-zs8-1

ภาพจาก hubblesite.org

ทีมนักดาราศาสตร์นานาชาตินำโดยมหาวิทยาลัยเยลและมหาวิทยาลัยแคลิฟอเนีย ค้นพบดาราจักรที่อยู่ไกลที่สุด(อัพเดท ถูกล้มแชมป์แล้วโดย EGSY8p7 ในเดือนสิงหาคมของปีเดียวกัน) EGS-zs8-1 ซึ่งอยู่ในบริกลุ่มดาวคนเลี้ยงสัตว์ (Boötes) โดยอาศัยการรวบรวมข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ และกล้องโทรทรรศน์ภาคพื้นดินเคค
Read the rest of this entry »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลมีอายุครบรอบ 25 ปี

Posted on Updated on

799px-HST-SM4

ภาพจาก wikimedia.org

ฮับเบิลถูกปล่อยออกสู่อวกาศเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2533 การลอยอยู่ในอวกาศของฮับเบิลทำให้ไม่ถูกรบกวนโดยชั้นบรรยากาศของโลก กล้องโทรทรรศน์นี้สามารถสังเกตุได้ตั้งแต่ ช่วงคลื่นย่านเหนือม่วง (Ultraviolet) ย่านที่แสงปกติที่สามารถเห็นได้ จนถึง Read the rest of this entry »

แนะนำโปรแกรมดาราศาสตร์(เกม?)ท่องอวกาศ Space engine

Posted on Updated on

Space engine เป็นโปรแกรมดาราศาสตร์ 3 มิติ ที่ทำให้คุณสามารท่องไปยัง ระบบสุริยะ ดาวดาว ดาวเคราะห์ ดวงจันร์ ระบบสุริยะอื่น เนบิลลา หลุมดำ ดาราจักรทางช้างเผื่อก และดาราจักรอื่นๆอีกมากมาย โดยใช้ข้อมูลจริงทางดาราศาสตร์ผสมกับการสุ่มสร้างอย่างมีลำดับ (procedural random generation) เพื่อเติมเต็มอวกาศให้สมจริงมากขึ้น

เป็นโปรแกรมแสดงภาพอวกาศนอกโลกที่สวยงามที่ คุณสามารถลงจอด ณ ดาวต่างๆได้อีกด้วย มีโหมด Read the rest of this entry »

ผลการศึกษาชี้ สีชุดเดรสเจ้าปัญหาเกิดจากสมองตีความแสงมากระทบวัตถุแตกต่างกัน

Posted on Updated on

กลุ่มนักประสาทวิทยาและนักจิตวิทยาได้ทำการศึกษาการรับรู้สีของชุดเดรซเจ้าปัญหาที่เป็นกระแสอยู่พักหนึ่งในโลกสังคมออนไลน์ ซึ่งจริงๆแล้วชุดดังกล่าวกล่าวมีสีน้ำเงิน-ดำ (คลิ๊ก) อย่างไรก็ตามผลการวิเคราะห์สีจากภาพเจ้าปัญหานั้นเป็นสี ฟ้า-น้ำตาล

กลุ่มนักประสาทวิทยาได้ศึกษากลุ่มตัวอย่าง 1401 คน พบว่า Read the rest of this entry »

ทีมนักวิจัยได้เสนอการพิสูจน์ว่ามีออกซิเจนอยู่ในชั้นแก่นโลก

Posted on Updated on

Earth core
 ภาพโดย Kelvinsong / CC BY-SA 3.0

ทีมนักวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์จากฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์และอังกฤษได้ใช้ข้อมูลการไหวสะเทือน ผลการทดลองในห้องปฏิบัติการ และการคำนวณทางทฤษฎีเพื่อพิสูจน์ว่ามีออกซิเจนอยู่ในแก่นโลกชั้นนอก(Outer Core) งานวิจัยของพวกเขาได้ตีพิมพ์ในวารสาร  Proceedings of the National Academy of Science โดยใช้การทดลองในห้องปฏิบัติการแยกธาตุเบาอื่นๆออกให้เหลือเพียง Read the rest of this entry »

การสลับขั้วแม่เหล็กของโลกเป็นเรื่องปกติ

Posted on Updated on

วันนี้ผมได้ดูสารคดีเกี่ยวกับการสลับขั้วแม่เหล็กของโลก NOVA Magnetic Pole Flip 530,000 Years Overdue & Happening Now? ซึ่งเป็นภาษาอังกฤษ ผมพอฟังออกบ้างเนื่องจากพูดไม่เร็วนักและมีภาพประกอบทำให้เข้าใจง่าย

ฟังได้ใจความดังนี้คือ พลังของสนามแม่เหล็กสามารถพบได้ในชีวิตประจำวันทั่วไป โดยแม่เหล็กจะมีคุณสมบัติดูดกันเมื่อมีขั้วต่างกัน และผลักกันเมื่อมีขั้วเหมือนกัน นอกจากนั้นหาก Read the rest of this entry »